ทฤษฎี Franklin D.Roosevelt (FDR) ยุคความหวังใหม่ :ผู้นำต้องกล้า
นำเสนอโดย น.ส.รุ่งลักษมี รอดขำ
ประวัติความเป็นมา
v เกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1882 – เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1945
v ประวัติการทำงาน
§ เป็นช่วง The Great Depression สืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1(ค.ศ. 1929)) จึงได้มีโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาและบรรเทาทุกข์ขึ้นภายใต้โครงการที่ชื่อ สู่ความหวังใหม่ “New Deal” คือ an arrangement for mutual advantage หรือ การจัดการที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายและเป็นการจัดการใหม่ที่ให้ความหวังแก่คน
§ องค์ประกอบของ New Deal
v เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
§ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมในช่วงสภาวะวิฤกติเศรษฐกิจตกต่ำ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสภาพสังคมในขณะนั้นโดยทำให้แรงงานกับเจ้าของอุตสาหกรรมอยู่ด้วยกันอย่างกลมเกลียว
§ ให้ประชาชนทุกชนชั้นอยู่ด้วยกันอย่างกลมเกลียวและสันติ เช่น ให้ชาวผิวขาวและชาวแอฟริกันอเมริกันอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ และกลุ่มคนแรงงานกับเจ้าของอุตสาหรรมอยู่ด้วยกันอย่างกลมเกลียว
§ ผลักดันให้เกิดองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศที่เรียกว่าองค์กรสหประชาติ
v ข้อดี
§ เป็นมาตรการที่ช่วยสร้างงานให้ประชาชนและผันเงินเข้าสู่ชนบท
§ มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ
§ เป็นการจัดการที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่าย
§ เป็นการจัดการใหม่ที่ให้ความหวังแก่คนทั้งประเทศให้สู้กับสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
v ข้อเสีย
§ เป็นการรวมศูนย์อำนาจเข้าสู้รัฐบาลกลางมากเกินไป
§ นโยบายหลายๆโปรแกรมไม่ใช่แนวทางของอเมริกันตามกรอบของรัฐธรรมนูญ
www.pracob.blogspot.com/2010/04/blog-post_7577.html
v ใครนำเครื่องมือนี้มาใช้บ้าง
§ ผู้นำของโลกหลายคน อาทิต นายกอร์ดอน บราวน์ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ประธานาธิบดีของฝรั่งเศส นายนิโคลัส ซาร์โคซี่ นายบัน คี มูน เลขาธิการสหประชาชาติ รวมทั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา นายบารัค โอบามา “กรีนนิวดีล หรือสร้างงานใหม่ด้วยธุรกิจเขียว สร้างระบบเศรษฐกิจใหม่ โดยลดการพึ่งพาพลังงานน้ำมันหันไปใช้พลังงานสะอาดช่วยสร้างอุตสาหกรรมและฟื้นฟูเศรษฐกิจโลก
§ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา :ผลักดันอุตสากรรมเขียวกลายเป็นอุตสาหกรรมหลักในการฟื้นฟูเศรษฐกิจโลก เนื่องจากผู้นำประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ พากันเรียกร้องให้ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของโลกเช่น โครงการบ้านและออฟฟิศสีเขียว ลดภาษีรถยนต์ก๊าซเรือนกระจกน้อย และขึ้นภาษีรถที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง (บิสิเนสไทย :2551) www.arip.co.th
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น